วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555


คำสำคัญ

๑.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาระสนเทศ
สารสนเทศ หมายถึง ข่าวสารที่สำคัญเป็นระบบข่าวที่กำหนดขึ้นและจัดทำขึ้นภายในองค์การต่างๆ ตามความต้องการของเจ้าของหรือผู้บริหารองค์การนั้นๆ
  •  สารสนเทศ
ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า Information  หมายถึง ความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าสารสนเทศเป็นความรู้และข่าวสารที่สำคัญที่มีลักษณะพิเศษทั้งในการได้มาและประโยชน์ในการนำไปใช้ปฏิบัติ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที(IT)

เป็นเทคโนโลยีที่มีความสำคัญต่อสังคมในปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บ การประมวลผลและกานแสดงผลสารสนเทศ แบ่งเป็น ๒ ส่วน
   ๑.คอมพิวเตอร์
   จัดเป็นเทคโนโลยีหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบันเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติครบถ้วนทั้งด้านการบันทึก การจัดเก็บ การประมวลผล การแสดงผลและการสืบค้นหาข้อมูลสารสนเทศเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แบ่งเป็นเทคโนโลยีย่อยที่สำคัญได้ ๒ ส่วนคือเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และเทคโนโลยีซอฟท์แวร์
   ๑.เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ทุกชนิดที่ประกอบขึ้นเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ต่อพ่วงเพื่อเชื่อมโยงจำแนกตามหน้าที่การทำงานออกเป็น ๔ ส่วนคือ
๑.)หน่วยรับข้อมูล
๒.)หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU)
๓.)หน่วยแสดงผลข้อมูล (Out Put Unit)
๔.)หน่วยความจำสำรอง
   ๒.เทคโนโลยีซอฟท์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์แบ่งเป็น ๒ ประเภทคือ
๑.)ซอฟท์แวร์ระบบ (System Software)
๒.)ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
   ๒.เทคโนโลยีการสือสารโทรคมนาคม
   หมายถึง  เทคโนโลยีที่ใช้ติดต่อสื่อสารกันทั่วไป เช่น โทรศัพท์ ระบบดาวเทียมและ ระบบสื่อสารอื่นๆที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร

เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที(IT)

เป็นเทคโนโลยีที่มีความสำคัญต่อสังคมในปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บ การประมวลผลและกานแสดงผลสารสนเทศ แบ่งเป็น ๒ ส่วน
   ๑.คอมพิวเตอร์
   จัดเป็นเทคโนโลยีหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบันเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติครบถ้วนทั้งด้านการบันทึก การจัดเก็บ การประมวลผล การแสดงผลและการสืบค้นหาข้อมูลสารสนเทศเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แบ่งเป็นเทคโนโลยีย่อยที่สำคัญได้ ๒ ส่วนคือเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และเทคโนโลยีซอฟท์แวร์
   ๑.เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ทุกชนิดที่ประกอบขึ้นเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ต่อพ่วงเพื่อเชื่อมโยงจำแนกตามหน้าที่การทำงานออกเป็น ๔ ส่วนคือ
๑.)หน่วยรับข้อมูล
๒.)หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU)
๓.)หน่วยแสดงผลข้อมูล (Out Put Unit)
๔.)หน่วยความจำสำรอง
   ๒.เทคโนโลยีซอฟท์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์แบ่งเป็น ๒ ประเภทคือ
๑.)ซอฟท์แวร์ระบบ (System Software)
๒.)ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
   ๒.เทคโนโลยีการสือสารโทรคมนาคม
   หมายถึง  เทคโนโลยีที่ใช้ติดต่อสื่อสารกันทั่วไป เช่น โทรศัพท์ ระบบดาวเทียมและ ระบบสื่อสารอื่นๆที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร

1.ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อๆว่า โอเอส (Operting System : OS)
   เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
       1) ดอส (Disk Operating System : DOS) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันระบบปฏิบัติการดอสนั้นมีการใช้งานน้อยมาก
       2) วินโดวส์ (Windows) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่างเดียวนอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลือกตำแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย ระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
       3) ยูนิกซ์ (Unix) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งที่ใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (Open system) ซึ้งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกัน ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (multiusers) และสามารถทำงานได้หลายๆ งานในเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่า ระบบหลายภาระกิจ (multitasking) ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย เพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆเครื่องพร้อมกัน
      4) ลีนุกซ์ (Linux) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคูณสมบัติของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากมีโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์จำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของกูส์นิว (GMU) และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี (Freeware) ผู้ใช้สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
         ระบบลีนุกซ์ สามารถทำงานได้บน CPU หลายตระกูล เช่น อินเทล (PC Intel) ดิจิตอลผ (Digital Aipha Computer) และซันสปาร์ค (SUNSPARC) ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดวส์บนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์กันมากขึ้น
      5) แมคอินทอช(macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสาร นิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่าวมาแล้วยังมีระบบปฏิบัตืการอีกมาก เช่น ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานร่วมกันเป็นระบบ เช่นระบบปฏิบัติการ เน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้งานเฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่องานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษา

หน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ

1) ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับรู้การกดแป้นต่างๆ บนแผงแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่นๆ เช่น เมาส์ ลำโพงเป็นต้น
2) ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อกานนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกัน คือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3) ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพือให้สามารถใช้งานได้ขึ้น เช่น การขอดูรายการในสารระบบ Directory ในแผ่นบันทึก การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล
ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็น ระบบปฏิบัติการ และ ตัวแปลภาษา

ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
  • ระบบปฏิบัติการ (Operting System : OS)
  • ตัวแปลภาษา


ชนิดของระบบปฏิบัติการ จำแนกตามการใช้งานสามารถ                                           แนกออกได้เป็น 3 ชนิดด้วยกันคือ

1. ประเภทใช้งานเดียว (single-tasking) ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการ ดอส เป็นต้น 
2. ประเภทใช้หลายงาน(multi-tasking) ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน ผู้ใช้สามารถทำงานกันบซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows 98 ขึ้นไปและ UNIX เป็นต้น
3. ประเภทใช้งานหลายคน(multi-user) ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ๋ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนสามารถทำงานเสร็จในเวลา เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows NT และ UNIX เป็นต้น
2.ตัวแปลภาษา
การพัฒนาซอฟแวร์ต้องอาศัยซอฟแวร์ที่ใช้ในการแปละภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
    ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั้งได้ง่าย เข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟแวร์ในภายหลังได้
    ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา
ซึ่งภาษาระดับสูงได้แก่ Basic ,Pascal , C และภาษาโลโกเป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากได้แก Fortram ,Cobol และเป็นภาษาอาร์พีจี
     2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ APPLICATION Software
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน กานนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพหรือการออกแบบเว็บไซต์เป็นต้น
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้ 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้โดยเฉพาะ proprietary Software
2. ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป Packaged Software มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ customized PACKAGED และโปรแกรมมาตรฐาน (Standard Package)
     ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์  แบ่งตามลักษณะการใช้งาน จำแนกได้ 3 กลุ่มใหญ่ๆดังนี้
1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ business
2. กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมิเดีย graphic and multimedia
3. กลุ่มการใช้งานบนเว็บ wed and communications
                    กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ business
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองานและการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น
  • โปรแกรมประมวลคำ อาทิ microsoftword sun staroffice writer
  • โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ microsoft excel sun staroffice cals
  • โปรแรมนำเสนองาน อาทิ microsoftPowerPoint sun staroffice impress   
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมิเดีย graphic and multimedia
  ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิก และ มัลติมิเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว และ การสร้างและออกแบบเว็บไซต์ ตัวอบย่างเช่น
  • โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ microsoft, visioprofessional
  • โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ coreldriwabode, photoshop
  • โปรแกรมตัดต่อวีดีโอและเสียง อาทิ abodepremiere, pinnacle studio DV
  • โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมิเดีย อาทิ adobeauthorware, toolbook instructoradobe director
  • โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ adobe flash, adobe dreamweaver 
     กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
  เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอืนเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็คอีเมลการท่องเว็บไซต์ จากการดูแลเว็บ และกานส่งข้อตความติดต่อสือสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่
  • โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ microsoftoutlook,mozzila thunderbird
  • โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ microsoftexplorer,mozzila firefox
  • โปรแกรม ประชุมทางไกล videoconference อาทิ microsoft netmting
  • โปรแกรมส่งข้อความด่วน instantmessaging อาทิ MSN messenger/windows messenger, ICQ
  • โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH,MIRCH
         ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ง่าย จึงมีผูสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานด้านการจัดการข้อมูล
    ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลางถ้าเปรียบเทียบกับชิวิตประจำวันเเล้ว เรามีภาษาใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
    ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง machine languages
      เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้เลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบการเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
กานใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเขาใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
   ภาษาแอสเซมบลี assenbly languages
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลอความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์แต่อย่างไรก็ตามภาษาเเอสเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปละภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์ assembler เพื่อแปละชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
  ภาษาระดับสูง high-level languages
        เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า statements ที่มีลักษณะเป็ฯประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งคอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่านขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่อเงนั้นมี 2 ชนิดด้วยกันคือ
คอมไพเลอร์ compiler และ อินเทอร์พรีเตอร์ interpreter
คอมไพเลอร์  จะทำการแปละโปรแกรมที่เขียนเป็ฯภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้ป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์  จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้ว ให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้นเมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์และอินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง

วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555

รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย (Network Topology) ทั้ง 4 รูปแบบ

1.แบบดาว เป็นแบบการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อรวมกันกับหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์กลางของการติดต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานต่างๆที่ต้องติดต่อกัน
2.แบบวงแหวน เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครื่องขยายสัญญาณของตัวเองโดยจะมีการเชื่อมโยงของสัญญาณของสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครื่องขยายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับรองข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้าและส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆเป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใดเครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้สถานีนั้น เครื่องขยายสัญญาณจึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนเองหรือไม่ด้วย ถ้าใช่ก็รับถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป
3.แบบบัส เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อยๆโดยมีอุปกรณ์ที่เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบิ้ลในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆการจัดส่งวิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน วิธีการที่ใช้อาจแบ่งเวลาหรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่ สัญญาณที่แตกต่างกัน ในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัสนี้ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิด ถูกเชื่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเครื่องเดีวซึ้งจะใช้ในเครือข่ายขนาดเล็ก ในองค์กรที่มีคอมพิวเตอร์ที่ไม่มากนัก
4.แบบต้นไม้ เป็ฯเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม รับส่งข้อมูลเดียวกัน
     การประยุกต์ใช้งานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
- ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรณ์ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะหมายความรวมถึงการสื่อสารและการแบ่งปันการใช้ข้อมูลระหว่างบุคคลดวยซึ่งทั้งหมดนี้คืองาน
รูปแบบการใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงาน ได้เเป็น 3 ประเภทคือ
1. ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง (Centrallized Networks)
2.ระบบเครือข่ายแบบ Peer-to Peer
3.ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server

1.ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง

เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลางและมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆใช้การเดินสายเคเบิ้ลเชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเทอร์มินอลสามารถเข้าใช้งาน โดยส่งคำสั่งต่างๆ มาประมวลผลที่เครื่องกลางซึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพ

2.ระบบเครือข่ายแบบ Peer-to Peer

แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่าย Peer-to Peer จะมีความเท่าเทียมกันสามารถที่จะแบ่งปันทรัพยพยากรให้แก่กันและกันได้ แฟ้มข้อมูลรวมกันในเครือข่าย เครื่องแต่ละสถานีงานมีขีดความสามารถในการทำงานได้ด้วยตัวเอง คือสามารถทำการประมวลข้อมูลได้

3.ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server

ระบบ Client/Server สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็ฯจำนวนมาก และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี ทำงานโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการเป็ฯนศูนย์กลางอย่างน้อย 1 เครื่อง และบริหารต่างๆจากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง
เป็นระบบที่มีการยืดหยุ่นสูง สนับสนุนแบบ Multiprocessor สามารถเพิ่มจำนวนเครื่องได้ตามต้องการ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที(IT)

เป็นเทคโนโลยีที่มีความสำคัญต่อสังคมในปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บ การประมวลผลและกานแสดงผลสารสนเทศ แบ่งเป็น ๒ ส่วน
   ๑.คอมพิวเตอร์
   จัดเป็นเทคโนโลยีหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบันเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติครบถ้วนทั้งด้านการบันทึก การจัดเก็บ การประมวลผล การแสดงผลและการสืบค้นหาข้อมูลสารสนเทศเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แบ่งเป็นเทคโนโลยีย่อยที่สำคัญได้ ๒ ส่วนคือเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และเทคโนโลยีซอฟท์แวร์
   ๑.เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ทุกชนิดที่ประกอบขึ้นเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ต่อพ่วงเพื่อเชื่อมโยงจำแนกตามหน้าที่การทำงานออกเป็น ๔ ส่วนคือ
๑.)หน่วยรับข้อมูล
๒.)หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU)
๓.)หน่วยแสดงผลข้อมูล (Out Put Unit)
๔.)หน่วยความจำสำรอง
   ๒.เทคโนโลยีซอฟท์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์แบ่งเป็น ๒ ประเภทคือ
๑.)ซอฟท์แวร์ระบบ (System Software)
๒.)ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
   ๒.เทคโนโลยีการสือสารโทรคมนาคม
   หมายถึง  เทคโนโลยีที่ใช้ติดต่อสื่อสารกันทั่วไป เช่น โทรศัพท์ ระบบดาวเทียมและ ระบบสื่อสารอื่นๆที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร

วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2555

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู Information Communicatien Technology for (info)

คำสำคัญ

๑.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาระสนเทศ
สารสนเทศ หมายถึง ข่าวสารที่สำคัญเป็นระบบข่าวที่กำหนดขึ้นและจัดทำขึ้นภายในองค์การต่างๆ ตามความต้องการของเจ้าของหรือผู้บริหารองค์การนั้นๆ
  •  สารสนเทศ
ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า Information  หมายถึง ความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าสารสนเทศเป็นความรู้และข่าวสารที่สำคัญที่มีลักษณะพิเศษทั้งในการได้มาและประโยชน์ในการนำไปใช้ปฏิบัติ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที(IT)

เป็นเทคโนโลยีที่มีความสำคัญต่อสังคมในปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บ การประมวลผลและกานแสดงผลสารสนเทศ แบ่งเป็น ๒ ส่วน
   ๑.คอมพิวเตอร์
   จัดเป็นเทคโนโลยีหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบันเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติครบถ้วนทั้งด้านการบันทึก การจัดเก็บ การประมวลผล การแสดงผลและการสืบค้นหาข้อมูลสารสนเทศเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แบ่งเป็นเทคโนโลยีย่อยที่สำคัญได้ ๒ ส่วนคือเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และเทคโนโลยีซอฟท์แวร์
   ๑.เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ทุกชนิดที่ประกอบขึ้นเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ต่อพ่วงเพื่อเชื่อมโยงจำแนกตามหน้าที่การทำงานออกเป็น ๔ ส่วนคือ
๑.)หน่วยรับข้อมูล
๒.)หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU)
๓.)หน่วยแสดงผลข้อมูล (Out Put Unit)
๔.)หน่วยความจำสำรอง
   ๒.เทคโนโลยีซอฟท์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์แบ่งเป็น ๒ ประเภทคือ
๑.)ซอฟท์แวร์ระบบ (System Software)
๒.)ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
   ๒.เทคโนโลยีการสือสารโทรคมนาคม
   หมายถึง  เทคโนโลยีที่ใช้ติดต่อสื่อสารกันทั่วไป เช่น โทรศัพท์ ระบบดาวเทียมและ ระบบสื่อสารอื่นๆที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร